เปิดลงทะเบียนแล้ว‼️Onsite, จำกัดจำนวน 150 คน
งานประชุม 3rd TILD (Thailand ILD) Conference
.
📌 เน้น ๆ กับ RARE ILD นำโรค rare ต่าง ๆ มารวมไว้ใน 2 วัน (โรค rare ก็จะ rare ต่อไป แต่เราจะรู้จักมันมากขึ้น)
📌 Workshop การอ่าน HRCT ที่จะไม่ basic อีกต่อไป
📌 แจกฟรี! ILD Pocket Guide 2025 (orphan lung diseases)
📌 เปิดตัวหนังสือ ILD เล่ม 2 ราคาพิเศษ เฉพาะในงานเท่านั้น
.
💵 ค่าลงทะเบียน 1,000 บาท
🗓 18-19 มกราคม 2568
🏥 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
📌 ลงทะเบียนสแกน QR ในรูป หรือ คลิ๊ก! https://bit.ly/4f3m5YN
📣 ประชาสัมพันธ์หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดฯ อนุสาขาอายุรศาสตร์ความผิดปกติของการหายใจขณะหลับ สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยฯ
✅ Fellowship Training in Sleep related breathing disordered medicine
✅ หลักสูตร 1ปี
สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอแสดงความยินดีกับ
📣 ประชาสัมพันธ์สมาชิกสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย เรื่อง
แนวทางการยืนยันตัวตนของแพทย์ด้วย ThaID ผ่าน application Line
จะใช้กับระบบที่มีการยืนยันคุณสมบัติแพทย์ ซึ่งในระยะแรกจะใช้กับประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม
1️⃣ เรื่องหลักเกณฑ์และอัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนในกรณีการรักษาผู้ประกันตนที่ป่วยด้วยโรคหยุดหายใจขณะหลับและมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องอัดอากาศขณะหายใจเข้า (CPAP) (22ม.ค.67) และ
2️⃣ ประกาศกรมบัญชีกลาง ว228 เรื่องหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล สำหรับผู้ป่วยโรคหืดขั้นรุนแรง (24 เม.ย.67)
รายละเอียดดังเอกสารแนบ Download เอกสารแนวทางการยืนยันตัวตนแพทย์
📣 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิยาลัยขอนแก่น ฝากประชาสัมพันธ์งานประชุมวิชาการ
”Chest day KKU ครั้งที่ 10“
🗓️ วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน2567 เวลา 9.00-16.50 น. ณ ห้องประชุม 89 พรรษาสมเด็จย่า คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
✅ รูปแบบ onsite และ online
“ยิ่งจัด ยิ่งใหญ่ รีบลงทะเบียนนะคะ 1 ปี มีครั้งเดียว พลาดแล้วพลาดเลย”
✅ ลงทะเบียนฟรีผ่าน QR code
#ChestKKU
📣ประชาสัมพันธ์งานประชุม Assembly intervention สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
🗓️ วันที่ 14-15 พฤศจิกายน 2567
🏥 ณ อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
✅ อัตราค่าลงทะเบียนแพทย์ 3,000 บาท พยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ 1,000 บาท
✅ Workshop รับจำกัด
✔️แพทย์ 50 ท่าน
✔️พยาบาล 60 ท่าน เท่านั้น
✅ รายละเอียดดัง poster แนบ
Click Download หนังสือไม่ถือเป็นวันลา
📣 Sleep Medicine Assembly สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยฯ ขอเชิญรับชม vdo rerun งานประชุม
✅ Sleep related breathing disorders: Update knowledge and case sharing
✅ เพียง Scan QR code หรือรับชมผ่าน facebook : Sleep Chest Medicine
สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอเชิญหน่วยงานที่สนใจส่งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การตรวจสมรรถภาพปอดสไปโรเมตรีย์”
ติดต่อสอบถาม : คุณสิริกร อุดมปิติโชค
เบอร์ติดต่อ โทร. : 089 – 228-9105
E-mail : thaitst.tst@gmail.com
เกณฑ์การประเมินผู้ผ่านการอบรมสไปโรเมตรีย์
สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ขอแสดงความยินดีในโอกาสได้รับรางวัลวิจัย Reliability of visual HRCT Score
in determining the extent of fibrosis in patients with
IDIOPATHIC pulmonary fibrosis
รางวัล : APSR ASSEMBLY EDUCATION AWARD
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรังหรือที่รู้จักกันในนามโรคถุงลมโป่งพอง หรือ COPD เป็นโรคที่มีความรุนแรงมาก เป็นสาเหตุการตายอันดับ 2 ของประเทศไทย และอันดับ 3 ของโลก ดังนั้นเพื่อให้ทุกท่านตระหนักถึงความร้ายแรงของโรคนี้ วันที่ 16 พฤศจิกายน ของทุกปีจึงถูกตั้งให้เป็นวัน World COPD Day เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ และสามารถหลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการเกิดโรคนี้ได้
ในปีนี้ ทางสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยฯ ได้มีกิจกรรมเพื่อผู้ป่วยโรค COPD ตั้งแต่การวินิจฉัย การให้การรักษาและการให้ความรู้แก่ประชาชน โดยมี
- การจัดหน่วยเป่าปอด (Spirometry) สัญจร ไปยังโรงพยาบาลที่ไม่สามารถเป่าปอดได้ ให้ผู้ป่วยที่รอการวินิจฉัยได้รับการวินิจฉัยอย่างถูกต้องเพื่อให้ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
- คณะทำงานกลุ่มโรคหลอดลม ได้พัฒนา SIMPLE COPD Application เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้ดูแลผู้ป่วย COPD ตั้งแต่การประเมินโรค การเลือกยารักษา การปรับยา วิธีการสอนใช้อุปกรณ์พ่นสูดรวมไปถึงคำแนะนำอื่นๆที่จำเป็นต่อผู้ป่วย COPD โดยอ้างอิงจาก GOLD 2022 และ Thai COPD Guideline 2565 เพื่อให้ดูแลผู้ป่วยได้ง่าย สะดวกและถูกต้อง
- จัดทำ VDO สั้นๆเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปให้สังเกตอาการตนเอง เข้ารับการตรวจวินิจฉัย และปฏิบัติตนให้ถูกต้องเมื่อต้องอยู่กับโรค COPD
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง มีสาเหตุหลักมาจากการสูบบุหรี่และมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นควัน ละอองสารเคมี เป็นแล้วไม่มีโอกาสหาย แต่สามารถลดอาการของโรคได้ โดยการใช้ยาขยายหลอดลมเป็นประจำและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด หากมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจไม่อิ่มหรือไอมีเสมหะ ควรพบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย ยิ่งเร็วยิ่งเป็นผลดี
Assembly Critical Care
กลุ่มทำงานย่อยที่ร่วมกันทำงานวิชาการด้านอายุรศาสตร์ภาวะวิกฤต
Assembly Airway
Assembly Interventional pulmonology
Assembly of Pulmonary function & Rehabilitation
Assembly of Sleep
Assembly of Interstitial Lung Disease
คณะอนุกรรมการคณะอนุกรรมการโรคปอดอินเตอร์สติเชียลและโรคปอดจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม